Daily Archives: June 20, 2018

พระพุทธรูปไม้ไผ่ใหญ่และสวยที่สุดของโลก

2018-06-20T07:08:50+00:00

พระพุทธรูปไม้ไผ่ใหญ่และสวยที่สุดของโลก ประดิษฐานอยู่เมืองสะเทิม

พระพุทธรูปไม้ไผ่ใหญ่และสวยที่สุดของโลก2018-06-20T07:08:50+00:00

รูปคัมภีร์พระไตรปิฎก-สัญลักษณ์ของเมืองสะเทิมหรือสุธรรมวดี

2018-06-20T06:50:55+00:00

เมืองสะเทิมหรือสุธรรมวดีในตำนานเคยรุ่งเรืองทางพุทธศาสนาจนกระทั่งพระเจ้าอนิรุทธ์หรืออโนรธาแห่งพุกามยกทัพมาตี แล้วนำผู้คน และสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนาคือพระไตรปิฎก รวมทั้งพระเจ้ามนูหะกษัตริย์แห่งสะเทิมกลับไปพุกามด้วย คนมอญหรือพม่าจึงถือว่า เหตุการณ์นี้เป็นการปรากฏขึ้นของพระพุทธศาสนาที่แพร่หลายในสังคมพม่าเป็นครั้งแรกและเจริญสืบเนื่องมาจนทุกวันนี้ สัญลักษณ์ของเมืองจึงทำเป็นรูปคัมภีร์พระไตรปิฎก   ที่มา พาเที่ยวพม่า พม่าพาเที่ยว

รูปคัมภีร์พระไตรปิฎก-สัญลักษณ์ของเมืองสะเทิมหรือสุธรรมวดี2018-06-20T06:50:55+00:00

ก๊าวกูน  Kawgoon เมืองผาอาน ถ้ำที่มีพระดินเผาติดผนังถ้ำที่สวยที่สุดในเมียนมา

2018-06-20T07:09:13+00:00

ก๊าวกูน #Kawgoon เมืองผาอาน ถ้ำที่มีพระดินเผาติดผนังถ้ำที่สวยที่สุดในเมียนมา 7th A.D

ก๊าวกูน  Kawgoon เมืองผาอาน ถ้ำที่มีพระดินเผาติดผนังถ้ำที่สวยที่สุดในเมียนมา2018-06-20T07:09:13+00:00

ลาวพลัดถิ่น กว่า 200,000 คน ในดินแดนเมียนมา

2018-06-20T06:06:34+00:00

19 กรกฎาคม 2017 ลาวพลัดถิ่น กว่า 200,000 คน ในดินแดนเมียนมา !!! ยังคงภาษา วัฒนธรรม ประเพณี กว่า 200 ปี . บทสัมภาษณ์ ลุงปาน ลาวพลัดถิ่น บ้านป่าหวาย รัฐกะเหรี่ยง - Footage . *** นำมาให้ชมเพื่อการศึกษา โพสต์นี้สงวนสิทธิ์ งดแสดงความคิดเห็น พาดพิงบุคคลอื่น บุคคลใด หรือ ประเทศใดๆ นะคะ แอดจะลบ หรือ แบน ตามความเหมาะสม *** แอดโลกสวยค่ะ .. ดราม่าเชิญเล่นช่องอื่น...อ่ะเคร่ . ชาวลาวอีกกลุ่มหนึ่งที่ถูกสยามกวาดต้อนมาจากเวียงจันทน์ตั้งแต่สงครามต้นสมัยรัตนโกสินทร์ 200 ปีมาแล้ว พวกเขาเหล่านี้ถูกกวาดต้อนมาพร้อมกับพระแก้วมรกต พระบาง เพื่อเป็นแรงงานให้กับสยาม โดยชาวสยามได้ใช้ให้ชาวลาวเหล่านี้ปลูกข้าวเพื่อเลี้ยงกองทัพสยาม คนเหล่านี้จึงมาที่นี่พร้อมกับการเริ่มต้นของเมืองหลวงแห่งใหม่ . บรรพบุรุษพวกลาวกลุ่มนี้ถูกเกณฑ์ไปใช้แรงงานอยู่แถบจังหวัดกาญจนบุรีชายแดนติดพม่า และมะริด ทวาย เมาะตะมะในพม่าซึ่งแต่ก่อนเคยเป็นเมืองขึ้นของสยาม จำนวนปัจจุบันมีหลายหมื่นคนในพม่าแต่เฉพาะอยู่ในเขตไทย (อำเภอทองผาภูมิ) ประมาณ 10,000 คน พวกเขาพูดภาษาลาว ถือฮีตสิบสองคองสิบสี่เหมือนลาวในลาวและลาวอีสาน . ปัจจุบัน ชาวลาว อาศัยอยู่ในรัฐกะเหรี่ยงและรอยต่อรัฐมอญ มี 12 หมู่บ้านใหญ่ๆ อาทิเช่น บ้านหนองโค , บ้านหนองมัง , บ้านป่าหวาย , บ้านป่าคอก , บ้านสองแคว , บ้านหนองบัว , บ้านแหย่แหล่ , บ้านชเวตองโบ , บ้านทุ่งแม่โด่ง , บ้านแมตะโก่ง , บ้านพัดตะแหล่ และ บ้านใหม่ . ทุกหมู่บ้าน มีบัตรประชาชนเมียนมา ชีวิตความเป็นอยู่สุขสบาย #ลาวพลัดถิ่น  ที่มา พาเที่ยวพม่า [...]

ลาวพลัดถิ่น กว่า 200,000 คน ในดินแดนเมียนมา2018-06-20T06:06:34+00:00
Go to Top