Aphichet Somkamsri

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

ชวนอ่านวารสารพุทธอาเซียนศึกษา ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2566)

ชวนอ่านวารสารพุทธอาเซียนศึกษา ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2566) -ความเป็นเมืองสีหนุวิลล์ จากความรุ่งโรจน์สู่ความร่วงโรยบนเส้นทาง การพัฒนาเมืองเศรษฐกิจ โดย ศิลาวัฒน์ ชัยวงศ์ -A Feature of Dissemination of Buddhism on Social Media: The Strength and the Weakness. By Phramaha Somphong Unyo -แนวความคิดของชาวต่างชาติที่มีต่อศาสนาพุทธ โดย พระศราวุธ ยาวิชัย (ตปสีโล) -การศึกษาวิจัยเรื่อง การสร้างแรงจูงใจในการอ่านภาษาอังกฤษตามหลักพุทธธรรมของนักเรียนโรงเรียนยางฮอมวิทยาคมในระดับชั้นมัธยมศึกษาต้อนต้น โดย พระวิทูร ฐิตโสภโณ บทวิจารณ์หนังสือจากกองบรรณาธิการ ราชบัลลังก์พม่า วาระสุดท้ายแห่งระบบกษัตริย์ โดย มุกรวี ฉิมพะเนาว์ อ่านฉบับเต็มแบบจุใจกันได้แล้วที่ https://so07.tci-thaijo.org/index.php/basj/issue/view/319 Connect us, Connect the […]Read More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

การประชุมคณะทำงานยกร่างแผนงานวิจัยของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2568-2570

Just in : 6 กุมภาพันธ์ 2566 ดร.ลำพอง กลมกูล รักษาการผู้อำนวยการส่วนวิจัย สารสนเทศและบริการวิชาการเข้าร่วมการประชุมระดมความคิดร่วมกับคณะทำงานยกร่างแผนงานวิจัยของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2568-2570 ณ สำนักงานสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย Connect us, Connect the world. #ASCNEXT 2023 moving to centre of the PEOPLE ___ Website: http://asc.mcu.ac.th Facebook : Mcu Asean Twitter : ascmcu IG: ascmcuRead More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน

ASEAN กับดาวนักษัตรที่เปลี่ยนไป : นักษัตรโบราณและอิทธิพลจีนในอุษาคเนย์

หากล่าวถึงนักษัตรโบราณ ถึงเราไม่อาจกำหนดได้ว่าเกิดขึ้นได้เมื่อใด แต่ตำนานของการใช้นักษัตรสะท้อนให้เราเห็นถึงความสัมพันธ์ของมนุษย์และสัตว์ของวิถีชีวิตยุคโบราณ แล้วเมื่อสังคมพัฒนาขึ้นนักษัตรและความเชื่อที่เกี่ยวเนื่องก็ได้พัฒนาขึ้นพร้อมๆ กันด้วย การนับถือนักษัตรปรากฏอยู่ในทุกวัฒนธรรม ความเชื่อเรื่องนักษัตรไม่ใช่เพียงแค่ความเชื่อเรื่องโชคลางเท่านั้น หากคามรู้ด้านโหราศาสตร์ยังเป็นศาสตร์ชั้นสูงที่มีความสำคัญมากสำหรับการดำรงชีวิตของผู้คน โหราศาสตร์คือวิถีชีวิตของคนยุคเก่าที่ต้องอาศัยความรู้ด้านดิน น้ำ ไฟ ลม การเรียนรู้อยู่กับธรรมชาติ หากปราศจากความรู้ด้านโหราศาสตร์แล้วมนุษย์ก็จะไม่รู้จักวิธีการประกอบอาชีพ เช่น อาชีพการทำนาหรือลูกข้าวต้องรู้เรื่องการคำนวณฤดูกาลที่ถูกต้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดต่อเดินทางที่ต้องอาศัยทักษะกำหนดเวลาแม่นยำ ยิ่งโดยเฉพาะการเดินเรือในยุคโบราณซึ่งเกี่ยวข้องกับการลมและฤดูกาล หากขาดทักษะนี้การค้าคายเชื่อมภูมิภาคจะเกิดขึ้นไม่ได้เลย ในคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม: เอกสารจากหอหลวง นอกจากยืนยันว่าชาวอยุธยารู้จักการนับปีนักษัตรแล้วยังแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของฤดูกาลที่ช่วงเวลาไหนการเดินเรือสินค้าและการคมนาคมกับต่างชาติจะแล่นเรือได้อย่างสะดวกและหลักฐานสำคัญยิ่งในประวัติศาสตร์ไทยคือการสร้างอาณาจักรนครศรีธรรมราชซึ่งใช้แนวคิด ๑๒ ราศี เรียกหัวเมืองใต้ปกครองว่า “หัวเมือง ๑๒ นักษัตร” มุมมองการเปลี่ยนแปลงแนวคิดเรื่องนักษัตรของชาวอุษาคเนย์นั้น อาจกล่าวได้ว่าชาวอุษาคเนย์ได้รับอิทธิพลทั้งจากอินเดียและจีนร่วมกันจนเข้าสู่ยุคสมัยใหม่ก็เริ่มรับเอานักษัตรหรือการนับปีแบบตะวันตกตามลำดับ ถึงกระนั้นเราก็จะพบว่า การรับเอาความเชื่อด้านนักษัตรเข้ามาในวัฒนธรรมของตน ชาวอุษาคเนย์ได้ปรับเปลี่ยนไปตามความเชื่อดั้งเดิมอยู่ไม่ใช่การรับเอาทั้งหมดเสียทีเดียว เช่น เวียดนาม ที่นับนักษัตรแตกต่างออกไปบ้าง ลำดับของปีนักษัตร 12 ราศี แบบจีน เริ่มจาก ปีชวด (หนู) ปีฉลู (วัว) ปีขาล (เสือ) ปีเถาะ (กระต่าย) ปีมะโรง (มังกรหรืองูใหญ่) ปีมะเส็ง (งูเล็ก) ปีมะเมีย (ม้า) […]Read More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

Come to learn, leave to serve: จิตวิญญาณมหาจุฬาในเวียดนาม (ตอนที่ ๑)

Come to learn, leave to serve: จิตวิญญาณมหาจุฬาในเวียดนาม (ตอนที่ ๑) ล้นเกล้ารัชกาลที่ ๕ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเล้าฯ ให้มีการสร้างมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยขึ้นเพื่อเป็นสถาบันการศึกษาพระไตรปิฎกและศาสตร์ชั้นสูงสำหรับพุทธศาสนิกชนทั่วโลก ปัจจุบันมหาวิทยาลัยเปิดทำการเรียน การสอนอย่างต่อเนื่องทั้งในหลักสูตรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเปิดรับทั้งนิสิตไทยและต่างประเทศ มหาจุฬาเป็นที่รู้จักของชาวพุทธในระดับนานาชาติว่าเป็นสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาของคณะสงฆ์ไทยและมีนิสิตจากทั่วโลกเดินทางมาเรียนในหลักสูตรต่าง ๆ โดยเฉพาะสาขาพระพุทธศาสนาซึ่งเอกลักษณ์อันโดดเด่นของมหาวิทยาลัยกล่าวคือการประยุกต์หลักธรรมเพื่อพัฒนาจิตใจและสังคม การศึกษาในมหาวิทยาลัยได้ปลูกฝังจิตวิญญาณ หล่อหลอมแนวคิดและหลักการของพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง ผู้เรียนได้ฝึกฝนตนเองทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เมื่อจบการเรียนตามแนวปริยัติ หน้าที่อีกขั้นสำหนับการเป็นพุทธศาสนิกชนโดยเฉพาะพระสงฆ์นั้นคือการปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเผยแผ่พระพุทธศาสนา  เมื่อสำเร็จหลักสูตรตามระบอบการศึกษาแล้ว การกลับไปยังถิ่นฐาน บ้านเกิด เพื่อรับใช้สังคมคืออดุมการณ์ที่มหาจุฬาปลูกฝังให้กับนิสิตทุกคน อาจจะกล่าวได้ว่านี้เป็นเอกลักษณ์ที่หาจากสถาบันการศึกษาอื่น ๆ ได้ยาก ในหลักสูตรการศึกษาของมหาวิทยาลัย ได้กำหนดชัดเจนว่านิสิตมหาจุฬาต้องปฏิบัติศาสนกิจ ๑ ปี โดยนิสิตมหาจุฬาจะใช้เวลาดังกล่าวนี้ปฏิบัติศาสนกิจรับใช้สังคม เช่น บางรูปเป็นประธานบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน จัดกิจกรรมบรรพชาเยาวชนอันเป็นการสืบสานปณิธานและอดุมการณ์ของมหาจุฬาได้อย่างเต็มเปี่ยม นิสิตมหาจุฬาบางรูปก็รับหน้าที่ในทางคณะสงฆ์ เช่น เป็นพระสังฆาธิการ เป็นเจ้าคณะ เป็นต้น ปัจจุบันนี้ศิษย์เก่าของมหาจุฬาบางรูปดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการมหาเถรสมาคม ทำหน้าเที่บริหารกิจการคณะสงฆ์ในระดับประเทศซึ่งเป็นความภูมิใจของมหาจุฬาอย่างยิ่ง ไม่เพียงแต่นิสิตชาวไทยเท่านั้น สำหรับนิสิตต่างประเทศที่ศึกษาในมหาวิทยาลัยก็ได้รับการปลูกฝังอุดมการณ์นี้ผ่านหลักสูตรการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย จากการลงพื้นที่ของศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณที่ได้จัดกิจกรรม Junior Fellows  Program in […]Read More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

ดร.ลำพอง กลมกูล รักษาการผู้อำนวยการส่วนวิจัย สารสนเทศและบริการวิชาการมุทิตาผู้รักษาการแทนผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

Just in: วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ ดร.ลำพอง กลมกูล รักษาการผู้อำนวยการส่วนวิจัย สารสนเทศและบริการวิชาการมุทิตา พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, รศ.ดร. ในโอกาสรับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้รักษาการแทนผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา ณ สำนักงานศูนย์อาเซียนศึกษา ต.ลำไทร อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา Connect us, Connect the world. #ASCNEXT 2023 moving to centre of the PEOPLE ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย www.asc.mcu.ac.th mcuasean@gmail.com 085-8073098Read More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, รศ.ดร. ร่วมประชุมสภาวิชาการ ครั้งที่ ๒/๒๕๖๖

Just in : ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๖ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, รศ.ดร. รักษาการแทนผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา ร่วมประชุมสภาวิชาการ ครั้งที่ ๒/๒๕๖๖ โดยมี พระธรรมวัชรบัณฑิต,ศ.ดร. ,อธิการบดี เป็นประธาน ณ ห้องประชุม ๔๐๑ อาคารสำนักงานอธิการบดี และ ในระบบออนไลน์ผ่าน ZOOM Connect us, Connect the world. #ASCNEXT 2023 moving to centre of the PEOPLE ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย www.asc.mcu.ac.th mcuasean@gmail.com 085-8073098Read More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

บุคลากรศูนย์อาเซียนศึกษามุทิตาจิต พระเมธีธรรมจารย์, รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา

Just in : วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, รศ.ดร., รักษาการแทนผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา นำบุคลากรศูนย์อาเซียนศึกษามุทิตาจิต พระเมธีธรรมจารย์, รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา เนื่องในโอกาสรับพระราชทานโปรดเกล้าฯ สมณศักดิ์ “พระราชวัชรสารบัณฑิต” ณ งานกองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย Connect us, Connect the world. #ASCNEXT 2023 moving to centre of the PEOPLE ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย www.asc.mcu.ac.th mcuasean@gmail.com 085-8073098Read More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา

ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริการสังคม นำคณาจารย์ภาควิชาปรัชญา คณะพุทธศาสตร์มุทิตา ผู้รักษาการแทนผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา

Just in: วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ รศ.ดร.กฤต ศรียะอาจ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริการสังคม นำคณาจารย์ภาควิชาปรัชญา คณะพุทธศาสตร์มุทิตา ผู้รักษาการแทนผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา ณ สำนักงานศูนย์อาเซียนศึกษา ต.ลำไทร อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา Connect us, Connect the world. #ASCNEXT 2023 moving to centre of the PEOPLE ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย www.asc.mcu.ac.th mcuasean@gmail.com 085-8073098Read More

ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา

พิธีเจริญพระพุทธมนต์-เจริญจิตภาวนา ประจำเดือนกุมภาพันธ์

วันพฤหัสบดีที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๐๐ น. ดร.ลำพอง กลมกูล พร้อมด้วยบุคลากรศูนย์อาเซียนศึกษาร่วมกิจกรรมเจริญพระพุทธมนต์-เจริญจิตภาวนา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ นำโดย พระธรรมวัชรบัณฑิต ,ศ.ดร. อธิการบดี พร้อมทั้งผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ เข้าร่วมในครั้งนี้ ณ อาคารวิปัสสนาธุระ ชั้น ๒ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระนครศรีอยุธยา ข่าว : ศูนย์อาเซียนศึกษา มจรRead More

ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน

โครงสร้างจักรวาลหิ้งบูชา: พื้นที่จิตวิญญาณของมนุษย์และเทพเจ้าในสังคมเวียดนาม

การนับถือผีบรรพบุรุษเป็นความเชื่อดั้งเดิมของชาวอุษาคเนย์โบราณก่อนที่พระพุทธศาสนาจะเข้ามาถึงและผสมผสานร่วมกับวัฒนธรรมดั้งเดิม เมื่อชาวเวียดนามรับเอาพระพุทธศาสนากิจกรรมทางความเชื่อก็ปรับเปลี่ยนไปตามพลวัตสังคม การนับถือพลังเหนือธรรมชาติเป็นสัญชาตญาณและปรากฏอยู่ในทุกสังคมของโลก หากแต่มีความแตกต่างกันในรูปแบบของพิธีกรรมและศาสนา แต่เป้าหมายของการนับถือพลังเหนือธรรมชาติเหล่านั้นเพื่อได้รับการตอบรับคสิ่งที่ปรารถนาจากอำนาจเหนือธรรมชาติ การมีหิ้งบูชาในบ้านของชาวเวียดนามไม่แตกต่างไปจากการมีหิ้งบูชาในวัฒนธรรมความเชื่ออื่น ๆ ทั้งในลาว กัมพูชาและพม่า หิ้งบูชาเป็นพื้นที่ (space) การเชื่อมต่อระหว่างโลกทางกายภาพและโลกทางจิตวิญญาณ หิ้งบูชาไม่เพียงเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์แต่ยังเป็นพื้นที่ของการสื่อสารระหว่างสิ่งศักดิ์สิทธิ์และมนุษย์ นอกจากนั้นยังเป็นเครื่องมือที่ทำให้จักรวาลอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขด้วย ผ่านกลไกทางประเพณีการเคารพผีบรรพบุรุษและธรรมชาติ สะท้อนให้เห็นถึงแนวคิดจักรวาลวิทยา (cosmogony) อันเก่าแก่ของมนุษยชาติด้วย                                                                           […]Read More

Translate »