Aphichet Somkamsri

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์ บทบาทของมหาจุฬากับอาเซียน

คณะผู้บริหาร คณาจารย์มหาวิทยาลัย พบ ฯพณฯคำพัน อั่นลาวัน เอกอัครราชทูต สปป.ลาว

  วันที่ 22 มีนาคม 2566 พระราชวัชรสารบัณฑิต, รศ.ดร. นำคณะผู้บริหาร คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทั้งส่วนกลาง วิทยาเขต และวิทยาลัยสงฆ์ พบ ฯพณฯคำพัน อั่นลาวัน เอกอัครราชทูต สปป.ลาว ประจำประเทศไทย เพื่อปรึกษาหารือในการแสวงหาความร่วมมือทางด้านการศึกษาของพระสงฆ์ สปป.ลาวที่เข้ามาศึกษาใน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ณ สถานเอกอัครราชทูต สปป.ลาว ประจำประเทศไทย กรุงเทพมหานครRead More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

หดสรง จารีตที่ถูกห้ามเมื่อคณะสงฆ์ส่วนกลางพยายามเปลี่ยนอีสานให้เป็นไทย

หดสรง จารีตที่ถูกห้ามเมื่อคณะสงฆ์ส่วนกลางพยายามเปลี่ยนอีสานให้เป็นไทย หดสรง มองอย่างทั่ว ๆ ไป พิธีกรรมหลักก็คือ “น้ำ” เป็นหัวใจสำคัญของการประกอบพิธีกรรม น้ำกับคนอาคเนย์สัมพันธ์กันอย่างมิอาจแยกขาด ตำนานอาหารการกินของคนลุ่มน้ำโขงก็คือน้ำ เช่น ตำนานยักษ์สะลึคึที่มีอวัยวะเพศอันมหึมาเป็นเอกลักษณ์ก่อการเป็นผู้คนของลุ่มน้ำสายนี้ ในด้านการเมืองน้ำยังเข้าไปเป็นส่วนทำให้สถานะของมนุษย์เปลี่ยนไปสู่ภาวะตัวแทนเทพ เช่น พิธีราชาภิเษก รวมทั้งประเพณีอื่น ๆ ที่เนื่องด้วยน้ำ ลอยกระทง สงกรานต์ เป็นต้น พิธีกรรมหดสรงนั้น แม้ไม่สามารถระบุว่าเกิดขึ้นเมื่อไหร่ ตอนไหน แต่เรามีต้นเค้าและหลักฐานที่อธิบายได้ถึงพลวัตประเพณีหดสรงว่าอยู่กับวัฒนธรรมลาว อีสาน มานานนับร้อยปี และยังเป็นจารีตร่วมเดียวกันกับที่ปรากฏในล้านาและเชียงตุงด้วย อิทธิพลที่ส่งผลต่อประเพณีหดสรงหากมองตามรูปแบบพิธีกรรมจะพบถึงผสมทั้งพุทธ พราหมณ์และผี หลักฐานสำคัญอย่างหนึ่งที่สะท้อนถึงตันตริกและร่องรอยวัชรยานในอุษาคเนย์ในพิธีกรรมนี้คือ “หมวกกาบ” อันเป็นสิ่งหลงเหลืออยู่ของแนวปฏิบัติดังกล่าวคือความเชื่อเรื่อง “อาทิพระพุทธเจ้า” แต่ตรงนี้รายละเอียดของพิธีกรรมจะแปลกแยกไปตามท้องถิ่น ซึ่งหากมองผ่านประวัติศาสตร์สิ่งนี้ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมปาละ และก็ยังปรากฏร่องรอยนี้ในเชียงใหม่ด้วยที่พบพระพุทธรูปใส่มงกุฏลักษณะหมวกกาบ เมื่อการหดสรงประกอบขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของรัฐจารีตในอดีต เช่น ล้านนา ล้านช้าง หมายความว่า การประกอบพิธีกรรมเกิดขึ้นจากรัฐเป็นส่วนหนึ่งและประชาชนร่วมด้วย ดังจะพบว่าลำดับขึ้นของพระสงฆ์ที่มีชื่อเรียกและหน้าที่ต่างกันไปตามคุณสมบัติด้วย บางตำแหน่งระบุหน้าที่ไว้เป็นเฉพาะว่าเป็นที่ปรึกษาของกษัตริย์ ในอีกด้านหนึ่งอาจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ให้ความเห็นว่าในตัวพิธีกรรมสำคัญมากเพราะชาวเป็นคนทำเองไม่ใช่รัฐ กล่าวคือชาวบ้านเป็นคนยกย่องพระสงฆ์รูปนั้น ๆ ที่พวกเขาเคารพขึ้นสู่พิธีเถราภิเษก เหตุใดหดสรงจึงถูกห้ามในอีสาน ? […]Read More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

โครงการอบรมด้านกฎหมายสำหรับผู้บริหารระดับสูง​

โครงการอบรมด้านกฎหมายสำหรับผู้บริหารระดับสูง​ วันพฤหัสบดีที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ ,รศ.ดร., รักษาการผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา มจร เข้าร่วมสัมมนาโครงการอบรมด้านกฎหมายสำหรับผู้บริหารระดับสูง​ ทั้งส่วนกลางและภูมิภาค ณ ห้องประชุม ๑๐๒ พระมงคลสิทธาจารย์ (รวย ปาสาทิโก) ชั้น ๑ อาคารพระราชรัตนโมลี (นคร เขมปาลี) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในการนี้ พระเดชพระคุณ พระธรรมวัชรบัณฑิต,ศ.ดร. อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมตตาเป็นประธานในพิธี Connect with us, Connect the world. #ASCNEXT 2023 moving to centre of the PEOPLE ___ Website: http://asc.mcu.ac.th Facebook : Mcu Asean Twitter : ascmcu IG: ascmcuRead More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

Inclusivity-based Community of Practice Meeting: Unpacking and Promoting Decolonization, Anti-Racism

Inclusivity-based Community of Practice Meeting: Unpacking and Promoting Decolonization, Anti-Racism and Non-Discrimination Efforts Just in: วันที่ 21 มีนาคม 2566 ที่ผ่านมา พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, รศ.ดร. ผู้รักษาการผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา มอบหมายให้ พระปลัดอภิเชษฐ์ สุภทฺรวาที เจ้าหน้าที่ศูนย์อาเซียนศึกษา ร่วมประชุม Inclusivity-based Community of Practice Meeting: Unpacking and Promoting Decolonization, Anti-Racism and Non-Discrimination Efforts จัดโดย Network for Religious and Traditional Peacemakers การประชุมดังกล่าวนักวิชาการและนักกิจกรรมทั่วโลกได้ให้ความสนใจทีการถอดบทเรียนและการนำสังคม การศึกษาออกจากแนวคิดอาณานิคมซึ่งแฝงฝังในระบบการศึกษาและวัฒนธรรมต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งก่อให้เกิดความรุนแรงและการเหยียดเชื้อชาติ ศาสนาของสังคม […]Read More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

Road to 10th APFSD: Regional Dialogue on Youth Empowerment in

 Road to 10th APFSD วันที่ 23-24 มีนาคม 2566 พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ,รศ.ดร, ผู้รักษาการผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา มอบหมายให้พระปลัดอภิเชษฐ์ สุภทฺรวาที เจ้าหน้าที่ศูนย์อาเซียนศึกษา เข้าร่วมประชุม “Road to 10th APFSD: Regional Dialogue on Youth Empowerment in Climate Action” ระหว่างวันที่ 23-24 มีนาคม 2566 การประชุมจัดโดยความร่วมมือของ UNDP in partnership with UNFCCC Regional Collaboration Centre for Asia-Pacific, UNICEF East Asia and Pacific, UNICEF South Read More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

บุคลากรศูนย์อาเซียนศึกษาร่วมเสนองานวิชาการด้านเอเชียตะวันออกศึกษาในเวทีนานาชาติ

บุคลากรศูนย์อาเซียนศึกษาร่วมเสนองานวิชาการด้านเอเชียตะวันออกศึกษาในเวทีนานาชาติ พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, รศ.ดร. ,ผู้รักษาการแทนผู้อำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา มอบหมายให้ พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต, ดร. นักวิชาการศึกษา ศูนย์อาเซียนศึกษา ร่วมนำเสนอบทความวิชาการเรื่อง “The Concept of Five Disappearances and its Contributions to ASEAN Civilization in the Change and Development of Buddhism and the Creative Works from the Past to the Present” ในงานประชุม 9th SSEASR Conference on Sacredness, Symbolism, and Read More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

ร่องรอยและอิทธิพลพุทธศาสนาสายธรรมตันตริกเถรวาทในอาเซียนราวพุทธศตวรรษที่ 18 (สุโขทัย) จนถึงปัจจุบัน: อิทธิพลและคุณูปการ

หากพูดถึงตันตริกเถรวาทกับคนไทยคงจะต้องถูกถามว่าคืออะไร เพราะดูเหมือนเป็นคำที่ผลิตขึ้นใหม่ หากแต่ความจริงคำนี้ใกล้เคียงกับคำที่พระถั๋งซำจัง (เสวี้ยนจาง) เคยใช้เมื่อบันทึกถึงสภาพการณ์ พฤติกรรม การปฏิบัติของพระสงฆ์ พุทธศาสนาสมัยพระเจ้าหรรษวัฒนะ ช่วงท่านเดินทางไปยังอินเดี ว่า มหายาน-สถวีระ และ หีนยาน-สถวีระ ซึ่งหมายถึงพระสงฆ์ที่แม้จะอยู่อารามเดียวกันแต่ก็มุ่งเน้นปฏิบัติและเป้าหมายต่างกัน พร้อมกล่าวถึงพระสงฆ์ที่มหาวิหารและอภัยคีรีวิหารที่ศรีลังกา คำดังกล่าวยังปรากฎจารึกที่ลพบุรีสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ที่เกี่ยวถึงพระสงฆ์นักบวช โดยเฉพาะอรัณยกะ อิทธิพลจากอภัยคีรีวิหารกับมหาวิหารที่อยู่กันรอบเมือง มีอาวาส/อาราม เรียกว่า ตโปวนาวาสหรือตโปวนาราม ในจารึกกล่าวถึง พระมหายาน-สถวีระ แต่หมายถึงพระสงฆ์ที่สังกัดทั้งฝ่ายมหายานและเถรวาท ทำให้เกิดการผสมตันตรยานหรือวัชรยานกับเถรวาท เกิดเป็น ตันตริกเถรวาท หรือ วัชรเถรวาท คำนี้บ่งบอกถึงอิทธิพลตันตรยานที่มีต่อพระสงฆ์เถรวาทอุษาคเนย์ที่ยังคงปฏิบัติแนวปกปิด เป็นคุยหยาน มีคัมภีร์ปฏิบัติธรรมเป็นของตนเอง คือโบราณกัมมัฏฐาน เป็นคำที่ใช้อ้างถึงแนวทางปฏิบัติที่ลึกลับในพุทธศาสนาเถรวาทอุษาคเนย์เป็นการเฉพาะ นอกจากนี้ยังเกี่ยวกับเวทมนต์ คาถา พิธีกรรม บางครั้งเรียกว่า โยคาวจร เป็นพระพุทธศาสนาสายกระแสนิยมหลักก่อนเข้าสู่ยุคใหม่ ในลาว กัมพูชา ไทย พม่า ทางใต้เวียดนาม ผืนแผ่นดินใหญ่อาเซียน พุทธศาสนานิกายหรือกระแสธรรมที่มีอิทธิพลต่อแนวคิดตันตริกเถรวาท คือ สำนักนิกายอภัยคีรีวิหารในลังกาสำนักนี้ได้เคยเปิดรับมหายาน ตันตรยานหรือวัชรยานและมีอิทธิพลต่ออุษาคเนย์พร้อมการเผยแพร่ไปที่ชวา ทวารวดี ศรีเทพ ศรีจนาศะ […]Read More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

ฮดสรง จารีตที่ถูกห้ามเมื่อคณะสงฆ์ส่วนกลางพยายามเปลี่ยนอีสานให้เป็นไทย

ฮดสรง จารีตที่ถูกห้ามเมื่อคณะสงฆ์ส่วนกลางพยายามเปลี่ยนอีสานให้เป็นไทย ฮดสรง มองอย่างทั่ว ๆ ไป พิธีกรรมหลักก็คือ “น้ำ” เป็นหัวใจสำคัญของการประกอบพิธีกรรม น้ำกับคนอาคเนย์สัมพันธ์กันอย่างมิอาจแยกขาด ตำนานอาหารการกินของคนลุ่มน้ำโขงก็คือน้ำ เช่น ตำนานยักษ์สะลึคึที่มีอวัยวะเพศอันมหึมาเป็นเอกลักษณ์ก่อการเป็นผู้คนของลุ่มน้ำสายนี้ ในด้านการเมืองน้ำยังเข้าไปเป็นส่วนทำให้สถานะของมนุษย์เปลี่ยนไปสู่ภาวะตัวแทนเทพ เช่น พิธีราชาภิเษก รวมทั้งประเพณีอื่น ๆ ที่เนื่องด้วยน้ำ ลอยกระทง สงกรานต์ เป็นต้น พิธีกรรมฮดสรงนั้น แม้ไม่สามารถระบุว่าเกิดขึ้นเมื่อไหร่ ตอนไหน แต่เรามีต้นเค้าและหลักฐานที่อธิบายได้ถึงพลวัตประเพณีอดสรงว่าอยู่กับวัฒนธรรมลาว อีสาน มานานนับร้อยปี และยังเป็นจารีตร่วมเดียวกันกับที่ปรากฏในล้านาและเชียงตุงด้วย อิทธิพลที่ส่งผลต่อประเพณีฮดสรงหากมองตามรูปแบบพิธีกรรมจะพบถึงผสมทั้งพุทธ พราหมณ์และผี หลักฐานสำคัญอย่างหนึ่งที่สะท้อนถึงตันตริกและร่องรอยวัชรยานในอุษาคเนย์ในพิธีกรรมนี้คือ “หมวกกาบ” อันเป็นสิ่งหลงเหลืออยู่ของแนวปฏิบัติดังกล่าวคือความเชื่อเรื่อง “อาทิพระพุทธเจ้า” แต่ตรงนี้รายละเอียดของพิธีกรรมจะแปลกแยกไปตามท้องถิ่น ซึ่งหากมองผ่านประวัติศาสตร์สิ่งนี้ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมปาละ และก็ยังปรากฏร่องรอยนี้ในเชียงใหม่ด้วยที่พบพระพุทธรูปใส่มงกุฏลักษณะหมวกกาบ เมื่อการฮดสรงประกอบขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของรัฐจารีตในอดีต เช่น ล้านนา ล้านช้าง หมายความว่า การประกอบพิธีกรรมเกิดขึ้นจากรัฐเป็นส่วนหนึ่งและประชาชนร่วมด้วย ดังจะพบว่าลำดับขึ้นของพระสงฆ์ที่มีชื่อเรียกและหน้าที่ต่างกันไปตามคุณสมบัติด้วย บางตำแหน่งระบุหน้าที่ไว้เป็นเฉพาะว่าเป็นที่ปรึกษาของกษัตริย์ ในอีกด้านหนึ่งอาจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ให้ความเห็นว่าในตัวพิธีกรรมสำคัญมากเพราะชาวเป็นคนทำเองไม่ใช่รัฐ กล่าวคือชาวบ้านเป็นคนยกย่องพระสงฆ์รูปนั้น ๆ ที่พวกเขาเคารพขึ้นสู่พิธีเถราภิเษก เหตุใดฮดสรงจึงถูกห้ามในอีสาน ? […]Read More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

นายเรโนล์ เมเยอร์ ผู้แทน UNDP (United Nations Development Programme) ประจำประเทศไทย เยือนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยอย่างเป็นทางการ

ศูนย์อาเซียนศึกษา ขอเรียนเชิญูบริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่และผู้สนใจทุกท่าน ให้เกียรติต้อนรับ นายเรโนล์ เมเยอร์ ผู้แทน UNDP (United Nations Development Programme) ประจำประเทศไทย ในโอกาสเยือนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยอย่างเป็นทางการ และร่วมการประชุมความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Corporate Sustainability Meeting) ในการนี้ พระเดชพระคุณ พระธรรมวัชรบัณฑิต, ศ.ดร., อธิการบดี เป็นประธาน มีผู้บริหารระดับสูง ผู้อำนวยการสถาบัน วิทยาลัย สำนักและคณาจารย์เข้าร่วมโดยคำสั่งมอบหมายของอธิการบดี เวลา 09.00 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุม 401 สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กราบเรียนมาด้วยความเคารพอย่างสูง ศูนย์อาเซียนศึกษา Connect with us, Connect the world. #ASCNEXT 2023 moving to centre of the PEOPLE ___ […]Read More

ข่าวการศึกษาอาเซียน ข่าวพุทธศาสนาอาเซียน ข่าวศูนย์อาเซียนศึกษา ข่าวอาเซียนสัมพันธ์

คณะผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภาควิชาบริหารการศึกษา ร่วมแสดงมุทิตา “พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, รศ.ดร.

Just in : วันที่ 15 มีนาคม 2566 รศ.ดร.สมศักดิ์ บุญปู่ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการทรัพย์สิน,รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะครุศาสตร์ มจร นำคณะผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภาควิชาบริหารการศึกษา ร่วมแสดงมุทิตา “พระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, รศ.ดร.” ในโอกาสรับแต่งตั้งจากมหาวิทยาลัย ให้เป็นผู้รักษาการแทนผู้อำนวยการ “ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โอกาสนี้ได้ให้กำลังใจเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน ณ สำนักงานศูนย์อาเซียนศึกษา Connect with us, Connect the world. #ASCNEXT 2023 moving to centre of the PEOPLE ___ Website: http://asc.mcu.ac.th Facebook : Mcu Asean Twitter : ascmcu IG: ascmcuRead More

Translate »